ประวัติความเป็นมาของการบัญชี

การบัญชีเป็นภาษาทางธุรกิจซึ่งผู้เกี่ยวข้องจำเป็นจะต้องเรียนรู้ภาษานี้เพื่อให้เข้าใจถึงผลกระทบของเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจตามปกติในทุกๆ วันโดยศัพท์ทางบัญชีจะเป็นลักษณะเฉพาะมากขึ้นเมื่อใช้ในการบัญชีดังเช่นเราจะได้ยินคำศัพท์เช่นสินทรัพย์หนี้สินส่วนของเจ้าของรายได้ค่าใช้จ่ายและกำไรขาดทุนเป็นต้นการบัญชีจึงเป็นกิจกรรมของการให้บริการซึ่งจะทำหน้าที่ในการจัดเตรียมข้อมูลเชิงปริมาณที่เกียวข้องกับรายการทางเศรษฐกิจเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจ
การบันทึกข้อมูลทางการบัญชีได้ทำกันมานานแล้วไม่น้อยกว่า 5 พันปีโดยจากหลักฐานที่ปรากฏการจดบันทึกข้อมูลและการจดบันทึกข้อมูลบนแผ่นดินเหนียวมีวิวัฒนาการที่น่าสนใจคือ

1.สมัยอียิปต์มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆในท้องพระคลัง

2.สมัยบาปิโลน มีการบันทึกเกี่ยวกับเงินและทองคำที่ได้รับโดยมีการระบุวันที่รับชื่อผู้รับและชื่อผู้ให้

3.สมัยกรีกมีการพัฒนาปรับปรุงในเรื่องของข้อมูลในการรับและจ่ายประจำงวดตลอดจนการคำนวณหายอดคงเหลือต้นงวดปลายงวดเพื่อต้องการทราบจำนวนทรัพย์สินมากกว่าที่จะเน้นในเรื่องการคำนวณผลกำไร

4.สมัยโรมันมีการบันทึกทางการบัญชีเกขึ้นในลักษณะของการบันทึก 2 ด้านเหมือนกับหลักบัญชีคู่เพราะมีการบันทึกรายการที่เกิดขึ้นว่ารับมากจากใครและจ่ายให้ใครเป็นจำนวนเท่าไหร่

               พัฒนาการทางด้านบัญชีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่การบัญชีแพร่หลายในยุโรปสมัยกลางของประวัติศาสตร์ก็เนื่องมาจากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและความจำเป็นของระบบขุนนางหรือศักดินาในขณะนั้นในสมัยต่อมาเมื่อระบบเศรษฐกิจเป็นระบบคฤหาสน์การบัญชีจำเป็นต้องขยายตัวให้เยงพอกับความต้องการและความจำเป็นของระบบนั้นด้วยระบบบัญชีคู่เริ่มเกิดขึ้นในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก็เป็นผลเนื่องมาจากขยายตัวทางด้านการหัตถกรรมและพานิชยกรรมความต้องการให้มีการบันทึกการจัดหมวดหมู่รายการตลอดจนการเสนอผลสรุปของการค้าที่ขยายตัวขึ้นทำให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงวิธีการบัญชีให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าที่เป็นมาแต่ก่อน

                 การบัญชีในประเทศไทยเริ่มมีตั้งแต่สมัยอยุธยาในช่วงปีพ.ศ. 2193 – 2231 ตรงกับสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยนี้ประเทศไทยได้มีการเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศยุโรปคืออังกฤษฝรั่งเศสและโปรตุเกสเป็นต้นบัญชีที่ถูกจัดทำขึ้นเป็นบัญชีแรกคือบัญชีเงินสดและได้ถือปฎิบัติมาจนกระทั่งถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เริ่มจัดทำบัญชีเงินพระคลังเป็นหมวดหมู่และวิชาการบัญชีก็ได้เริ่มมีการศึกษากันเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่นกันกล่าวคือในปีพ.ศ. 2482พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดกล้าให้บรรจุเรื่องการบัญชีเป็นสาขาหนึ่งใน 8 อย่างของชั้นประโยค 2 ซึ่งเป็นชั้นเรียนสูงสุดของการเรียนสมัยนั้นแต่เป็นเพียงการทำบัญชีเกี่ยวกับการเงินเท่านั้นยังไม่ใช่หลักการบัญชีคู่ที่แท้จริงต่อมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ตรงกับสมัยราชกาลที่ 6 พระองค์ทรงโปรดคัดเลือกบุตรข้าราชการส่งไปเรียนด้านพาณิชย์และบัญชีที่ประเทศอังกฤษด้วยเหตุกาณ์ข้างตันนี้ทำให้การบัญชีของไทยสมัยนั้นเป็นแบบอังกฤษนอกจากนั้นยังโปรดให้ตั้งโรงเรียนพาณิชยการขึ้น 2 แห่งคือโรงเรียนพาณิชยการวัดสามพระยาและโรงเรียนพาณิชยการวัดแก้วฟ้าโดยมีการสอนบัญชีคู่เป็นครั้งแรกในโรงเรียนดังกล่าวและมีบัญชีเพียง 3 เล่นคือสมุดบัญชีเงินสดสมุดรายวันและสมุดแยกประเภทในปี พ.ศ.2481ได้จัดตั้งคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และในปี พ.ศ. 2482 รัฐบาลได้ออกกฎหมายพระราชบัญญัติบัญชีขึ้นซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลัด 3 ประการคือ

1.เพื่อให้การจัดทำบัญชีของธุรกิจต่างๆมีแนวทางแบบเดียวกัน.

2.เพื่อคุ้มครองประโยชน์และส่วนได้ส่วนเสียของผู้เกี่ยวข้อง

3.เพื่ออำนวยความสะดวกและเกิดความเป็นธรรมในการจัดเก็ยภาษี

zebracon

Share
Published by
zebracon

Recent Posts

การปรับปรุงรายการบัญชี

กิจการได้ดำเนินงานต่างๆ  ผลของการดำเนินการจะดูที่งบกำไรขากทุน  และฐานะทางการเงินก็จะดูได้จากงบแดงฐานะการเงินซึ่งเป็นรายงานทางการเงินที่กิจการต้องมี  การที่เราจะรับรู้ได้นั้นจะต้องนำรายการมาผ่านกระบวนการทางบัญชี  เพื่อให้ได้รายงานทางการเงินเป็นบทสรุป  ดังนั้นแล้วเราจะเป็นที่จะต้องกำหนดระยะเวลาในการสรุปในรอบเวลานั้นเรียกว่า “งวดบัญชี”  เพื่อให้การดำเนินงานของกิจการได้สรุปผลออกมาและนำข้อมูลที่ได้จากรายงานทางการเงินกำหนดการบริหารในอนาคต  รวมถึงการคิดค่าภาษีเงินได้ที่ต้องชำระอีกด้วย  แต่มีบางรายการที่ได้เงินหรือค้างชำระตามงวดนั้นไม่ได้เป็นจริงตามระยะเวลาของงวด  ซึ่งในเกณฑ์คงค้างจะต้องทำการปรับปรุงเมื่อสินงวดการปรับปรุงรายการบัญชี  จะใช้ในกิจการที่ใช้เกณฑ์คงค้าง  โดยการนำงบทดลองที่ได้จากการปิดบัญชีแล้วนั้นเรียกว่างบทดลองก่อนปรับปรุง  หลังจากที่ได้ทำการปรับปรุงบางรายการที่ไม่เกิดขึ้นในระยะเวลาในงวดบัญชี  เราต้องมีการปรับปรุงให้คำนึงถึงระยะเวลาไม่ต้องใช้เงินสดแต่มีความแน่นอนว่ารายการจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต  รายการปรับปรุงจะต้องทำทุกสิ้นงวด  หลังจากปรังปรังแล้วจะกลายเป็นงบทดลองหลังปรับปรุงก่อนที่จะไปแสดงในยอดงบกำหรขากทุนและงบแสดงฐานะทางการเงิน  ซึ่งจะทำในกระดาษทำการ…

54 years ago

การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์

แนวทางของการศึกษาทางเศษรฐศาสตร์นั้นสามารถที่จะแบ่งแนวทางได้ 2 แนวทางใหญ่  เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่ต้องการศึกษาถึงเรื่องเศรษฐศาสตร์  ซึ่งมีความจำเป็นมากเพราะว่ามีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเรา  โดยที่เราจำเป็นที่จะใช้จ่ายในการต้องการสินค้าและบริการเราต้องการทราวความพอใจที่ราคาต่ำสุด  หลักการดังการเป็นการใช้กลัดของทางเศรษฐศาสตณืในการเข้าช่วยในการตัดสินใจ  รายได้ที่ได้รับมาเท่านั้นเท่านี้ทำอย่างไรจึงจะพอต่อค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน  รวมไปถึงการอยู่การกินทั่วๆไปการศึกษาจึงสามารถที่จะทำได้ปหลากหลายอาจจะระบุตามตรงให้ได้เลยนั้นไม่สามารถที่จะทำได้  สามารถที่จะปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม  ลักษณะพฤติกรรมของคนและปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  ซึ่งมีความแตกต่างไปจากวิทยาศสตร์ที่สามารถทดลองออกมาได้อย่างเที่ยงตรง  ทางนักเศรษฐศาสตร์เองนั้นจึงได้หาแนวทางในการศึกษาให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น  โดยหลักใช้ทางคือ  วิธีอนุมาน …

54 years ago

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

สำหรับแขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้บางตามหน่วยของเศรษฐกิจ  ซึ่งสามารถที่จะครอบคลุมทั้งระดับเล็กสุดของตัวบุคคลและระดับประเทศชาติ  ซึ่งการศึกษาและการแก้ไขปัญหามีความแตกต่างกัน  คนที่จะศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาให้ครอบคลุมทั้งระบบ    อย่างเช่นเรื่องของบุคคลก็จะศึกษาเรื่องเกี่ยวกับรายได้ของตัวเอง  รายจ่ายที่ใช้ชีวิตประจำวัน  การแลกเปลี่ยนและอื่นๆ  สำหรับเรื่องในระดับประเทศเกี่ยวกับการเก็บภาษี  การค้าระหว่างประเทศต่างๆ  ดังนั้นจึงมีการแบ่งออกเป็นสองแขนงได้แก่1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro Economics)  สำหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคนั้นเป็นการศึกษาตั้งแต่ในระดับตัวบุคคลเป็นหน่วยย่อย  รวมไปถึงการศึกษาพฤติกรรมของแต่ละกลุ่มและละบุคคลในการบริโภคในการซื้อของแต่ละชนิด  สามารถที่จะราคาสินค้าและปัจจัยการผลิตในการดำเนินการของตลาดของผู้ผลิต  การกำหนดปัจจัยการผลิต …

54 years ago

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด–…

54 years ago

อุปสงค์ (Demand) คืออะไร

อุปสงค์  คือ  การเสนอเลือกซื้อสินค้าในปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการ  ในราคาต่างๆ  ในเวลาใดเวลาหนึ่ง  มีความต้องการจงใจที่จะซื้อ  และความสามารถที่จะซื้อในช่วงเวลานั้นดังนั้นแล้วจึงเป็นความต้องการที่สามารถ  ซื้อได้จริงตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค  ซึ่งจะต้องมีความต้องอย่างและมีเงินที่จะจ่ายได้ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์การที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อสินค้าหรือบริการในชระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง  จะมีมากน้อยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ ราคาสินค้าชนิดนั้นระดับรายได้ของผู้บริโภคราคาสินค้าและบริการชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อรสนิยของผู้บริโภคจำนวนประชากรการโฆษณาช่วงระยะเวลาหรือฤดูกาล  เป็นต้น สำหรับปัจจัยดังกล่าวสามารถที่จะอธิบายได้ดังนี้ราคาสินค้า  เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อผู้บริโภค …

54 years ago

อุปทาน (Supply) คืออะไร

สำหรับในวิชาเศรษฐศาสตรแล้วนั้นคงต้องมีความควบคู่กับระหว่างอุปสงค์และอุปทานเสมอ  ดังนั้นแล้ว  อุปทานก็คือ  ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ขายต้องการเสนอขาย  ในระดับราคาต่างๆ  ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง  โดยให้ปัจจัยอื่นๆคงที่  ก็คือความต้องการขายหรือทางเสนอขายของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการนั้นเองปัจจัยที่กำหนดอุปทาน1. ราคาสินค้าสินนั้น (Px)2. ราคาปัจจัยการผลิต(Py)3. ต้นทุนการผลิต (C)4. เทคโนโลยีการผลิต (T) ราคาสินค้าชนิดนั้น  หากราคาสินค้าชนิดนั้นเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ผลิตสินค้าชนิดนั้นมีความต้องการขายสินค้ามากขึ้นด้วย  และหากสินค้าชนิดนั้นลดลงผู้ขายต้องการที่จะขายสินค้าชนิดนั้นลดลงเช่นกัน  สรุปคือไปตามขนาดกับราคาสินค้านั้นเองราคาปัจจัยการผลิต  มีทิศทางตรงกันข้ามนั้นก็คือถ้าปัจจัยการผลิตสินค้ามีมากขึ้นหรือว่าราคาสูงขั้นก็จะทำให้มีความต้องการสินค้านั้นลดลงเพราะว่าจะทำให้ผู้ผลิตนั้นมีกำไรลดลงแต่หากปัจจัยการผลิตสินค้าลดลงก็จะทำให้ความต้องการขายสินค้าเพิ่มากขึ้นด้วยต้นทุนการผลิต  สำหรับต้นทุนการผลิตหากต้นทุการผลิตเพิ่มขึ้นก็จะทำให้มีความต้องการขายสินค้าลดลงและหากต้นทุนการผลิตต่ำลงเทคโนโลยีการผลิต …

54 years ago