งานและประเภทอาชีพของนักบัญชี

     สำหรับงานของนักบัญชีนั้น  สามารถที่จะทำได้ในหลากหลายหน่วยงาน  ไม่ว่าจะเป็นทั้งรัฐบาล รวมไปถึงการนำความรู้ไปประกอบอาชียอิสระได้  เพราะว่าการทำบัญชีนั้นจะต้องอาศัยนักบัญชีในการจัดเก็บรวบรวมทางการเงิน  มีความจำเป็นเกือบทุกองค์และจะมีตำแหน่งทางบัญชี  แม้กระทั้งหน่วยงานที่ไม่แสวงหากำไรอย่างเช่นมูลนิธิการกุศลต่างๆไม่ว่าจะเป็นขนาดใหญ่หรือว่าเล็กก็ตาม  นักบัญชีจะต้องเข้ามามีบทบาท  แม้กระทั้งเกี่ยวกับการส่งของ  การตลาด  ข้อมูลทางการเงินมีความสำคัญมาก  ส่วนใหญ่มีการแบ่งลักษณะของผู้ทำบัญชีไว้  3 ลักษณะดังนี้

              1. นักบัญชีหน่วยงานเอกชน เป็นหน่วนงานที่เป็นกิจการเอกชน บริษัทในรูปแบบต่างๆ  จะเป็นส่วนหนึ่งของเจ้าหน้าที่หรือว่าพนังงานในกิจการนั้นๆ  เป็นลูกจ้างเอกชน  จะได้รับเงินเดือนเป็นท่าตอบแทน  หรือจะมีโบนัส OT บริษัทเอกชนเหล่านี้มีความต้องการให้นักบัญชีได้เข้ามาจัดเก็บข้อมูลทางด้านการเงิน  ให้กับเจ้าของหรือว่าผู้บริหารในกิจการบริษัท  ให้ได้รับข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจต่างๆในด้านการลงทุน  เพราะบางทีเจ้าของอาจจะไม่มีความรู้ในด้านการบัญชี  นักบัญชีจึงมีความจำเป็นมากในองค์  หากเป็นบริษัทที่ใหญ่แล้วอาจจะต้องมีพนังงานด้านบัญชีแบ่งไปหลานคนหลายหน่วยงาน  นอกจากนั้นนักบัญชีอาจจะใช้ความรู้ในด้านการประเมินภาษีให้กับกรมสรรพากร  รายงานประจำปี  งานบัญชีอาจจะมีได้มีขอบเขตทางด้านการเงินเท่านั้น  นักบัญชีอาจจะไปทำงานที่เกียวกับการตรวจสอบสินค้า  ก็ได้  ยังรวมไปถึงองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร  ก็ต้องมีการรวบรวมทางการเงินโดยนักบัญชีด้วย  ตำแหน่งงานต่างๆ  อย่างเช่น  หัวหน้าแผนกบัญชี  สมุห์บัญชี  นักบัญชี  ผู้ตรวจสอบบัญชีประจำบริษัท  เป็นต้น
                 2. นักบัญชีราชการ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรักฐแบบใดก็ตาม  จะเป็นรัฐบาล  ราชการ  หรือว่ารัฐวิสาหกิจ  ล้วนมีความจำเป็นที่ต้องการนักบัญชีไว้  เพื่อ เก็บข้อมูลรายจ่าง  งบประมาณที่ได้รับ  รายละเอียดทางการเงิน  ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานในระดับใดล้วนมีความจำเป็นอย่างเช่น  หน่ายงานองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น  อบจ. อบจ. เทศบาล  ต่างๆ  จะต้องมีการจัดเก็ยภาษีบำรุงท้องที่  ภาษีป้าย  สัมปทาน  และรายได้อื่นๆ  รวมไปถึงงบประมาณทางส่วนกลาง  และช่วยในการวิเคราะห์  งบประมาณ  ต่างๆ  ให้เป็นไปตามนโยบาลของส่วนท้องถิ่นนั้นๆ  ได้วางแผนเอาไว้ หรือว่าจะเป็นสำนักงานต่างๆ  ไม่ว่าจะเป็นอำเภอ  จังหวัด  รวมไปถึง  กรมการ  สำนักงานต่างๆ  ที่มีการวางแผนในระดับประเทศ  จำเป็นที่จะต้องมีนักบัญชีในการรวบรวมการเงินเพื่อเป็นการประเมินและได้วางแผนต่อไป  ตามนโยบาลของรัฐบาล กระทรวงการคลัง  ซึ่งมีพระราชบัญบัติงบประมาณเป็นไปตามสภาผู้แทนราษฎรอนุมัติรายจ่ายประจำมี  สำหรับนักบัญชีที่ทำงานราชการก็จะได้เป็นราชการได้รับเงินเดือนเหมือนกันข้าราชการทั่วไป  ที่สำคัญการทำบัญชีในหน่วยงานราชการจะมีความแตกต่างไป  เพราะว่าเป็นองส์กรที่ไม่แสวงหากำไร  โดยจะมีแบบแผนการบัญชีของรัฐที่เราจะต้องศึกษาก่อนเข้ารับราชการ
                    3. งานการบัญชีสาธารณะหรือว่างานบัญชีส่วนบุคคล เป็นงานที่มีความเป็นอิสระ  ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือว่าได้รับค่าจ้างเป็นเงินเดือน  หรือว่ารับราชการ  แต่ว่าจะได้รับเป็นเงินจ้างตามอัตราที่ได้รับตกลงกับนายจ้างไว้  หรือว่าการทำงานแบบฟรีแลนด์ที่ไม่ได้ขึ้นตรงต่อใคร  ไม่ได้ทำงานแบบลูกจ้างประจำ  ไม่มีเวลาการทำงานที่แน่นอน จะรับงานตามที่มีผู้ว่าจ้างให้ทำ  เหมือนกับอาชีพอัสระในด้านต่างๆ  เช่น  ทนายความ  รับว่าความตามคดีต่างๆ  หนอที่รักษาคนไข้ด้วยการเปิดคลิก รักษา  ซึ่งเขาได้รับค่าบริการตามจำนวนและขึ้นอยู่กับการตกลง  นักบัญชีอิศระ  อย่างเช่น  นักบัญชีทั่วไป  หรือว่าผู้ตรวจสอบบัญชี  ซึ่งอาชีพนี้จะต้องผ่านการคัดเลือกตามกฎหมายเป็นวีชาชีพ  ผู้ตรวจอสบัญชีได้รับอนุญาตเสียก่อนจึงจะสามารถที่จะทำงานนนี้ได้  หรือที่เรียกว่า CPA  ซึ่งนักบัญชี  มีความสามารถดูแลด้านภาษีตรวจสอบบัญชี  วิเคราะห์ระบบบัญชี  และวงแผนระบบบัญชีได้  ให้คำปรึกษาทางภาษีอากร  ให้กับหน่าวยงาน  กิจการ  บริษัทต่างๆ

zebracon

Share
Published by
zebracon

Recent Posts

การปรับปรุงรายการบัญชี

กิจการได้ดำเนินงานต่างๆ  ผลของการดำเนินการจะดูที่งบกำไรขากทุน  และฐานะทางการเงินก็จะดูได้จากงบแดงฐานะการเงินซึ่งเป็นรายงานทางการเงินที่กิจการต้องมี  การที่เราจะรับรู้ได้นั้นจะต้องนำรายการมาผ่านกระบวนการทางบัญชี  เพื่อให้ได้รายงานทางการเงินเป็นบทสรุป  ดังนั้นแล้วเราจะเป็นที่จะต้องกำหนดระยะเวลาในการสรุปในรอบเวลานั้นเรียกว่า “งวดบัญชี”  เพื่อให้การดำเนินงานของกิจการได้สรุปผลออกมาและนำข้อมูลที่ได้จากรายงานทางการเงินกำหนดการบริหารในอนาคต  รวมถึงการคิดค่าภาษีเงินได้ที่ต้องชำระอีกด้วย  แต่มีบางรายการที่ได้เงินหรือค้างชำระตามงวดนั้นไม่ได้เป็นจริงตามระยะเวลาของงวด  ซึ่งในเกณฑ์คงค้างจะต้องทำการปรับปรุงเมื่อสินงวดการปรับปรุงรายการบัญชี  จะใช้ในกิจการที่ใช้เกณฑ์คงค้าง  โดยการนำงบทดลองที่ได้จากการปิดบัญชีแล้วนั้นเรียกว่างบทดลองก่อนปรับปรุง  หลังจากที่ได้ทำการปรับปรุงบางรายการที่ไม่เกิดขึ้นในระยะเวลาในงวดบัญชี  เราต้องมีการปรับปรุงให้คำนึงถึงระยะเวลาไม่ต้องใช้เงินสดแต่มีความแน่นอนว่ารายการจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต  รายการปรับปรุงจะต้องทำทุกสิ้นงวด  หลังจากปรังปรังแล้วจะกลายเป็นงบทดลองหลังปรับปรุงก่อนที่จะไปแสดงในยอดงบกำหรขากทุนและงบแสดงฐานะทางการเงิน  ซึ่งจะทำในกระดาษทำการ…

54 years ago

การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์

แนวทางของการศึกษาทางเศษรฐศาสตร์นั้นสามารถที่จะแบ่งแนวทางได้ 2 แนวทางใหญ่  เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่ต้องการศึกษาถึงเรื่องเศรษฐศาสตร์  ซึ่งมีความจำเป็นมากเพราะว่ามีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเรา  โดยที่เราจำเป็นที่จะใช้จ่ายในการต้องการสินค้าและบริการเราต้องการทราวความพอใจที่ราคาต่ำสุด  หลักการดังการเป็นการใช้กลัดของทางเศรษฐศาสตณืในการเข้าช่วยในการตัดสินใจ  รายได้ที่ได้รับมาเท่านั้นเท่านี้ทำอย่างไรจึงจะพอต่อค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน  รวมไปถึงการอยู่การกินทั่วๆไปการศึกษาจึงสามารถที่จะทำได้ปหลากหลายอาจจะระบุตามตรงให้ได้เลยนั้นไม่สามารถที่จะทำได้  สามารถที่จะปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม  ลักษณะพฤติกรรมของคนและปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  ซึ่งมีความแตกต่างไปจากวิทยาศสตร์ที่สามารถทดลองออกมาได้อย่างเที่ยงตรง  ทางนักเศรษฐศาสตร์เองนั้นจึงได้หาแนวทางในการศึกษาให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น  โดยหลักใช้ทางคือ  วิธีอนุมาน …

54 years ago

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

สำหรับแขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้บางตามหน่วยของเศรษฐกิจ  ซึ่งสามารถที่จะครอบคลุมทั้งระดับเล็กสุดของตัวบุคคลและระดับประเทศชาติ  ซึ่งการศึกษาและการแก้ไขปัญหามีความแตกต่างกัน  คนที่จะศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาให้ครอบคลุมทั้งระบบ    อย่างเช่นเรื่องของบุคคลก็จะศึกษาเรื่องเกี่ยวกับรายได้ของตัวเอง  รายจ่ายที่ใช้ชีวิตประจำวัน  การแลกเปลี่ยนและอื่นๆ  สำหรับเรื่องในระดับประเทศเกี่ยวกับการเก็บภาษี  การค้าระหว่างประเทศต่างๆ  ดังนั้นจึงมีการแบ่งออกเป็นสองแขนงได้แก่1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro Economics)  สำหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคนั้นเป็นการศึกษาตั้งแต่ในระดับตัวบุคคลเป็นหน่วยย่อย  รวมไปถึงการศึกษาพฤติกรรมของแต่ละกลุ่มและละบุคคลในการบริโภคในการซื้อของแต่ละชนิด  สามารถที่จะราคาสินค้าและปัจจัยการผลิตในการดำเนินการของตลาดของผู้ผลิต  การกำหนดปัจจัยการผลิต …

54 years ago

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด–…

54 years ago

อุปสงค์ (Demand) คืออะไร

อุปสงค์  คือ  การเสนอเลือกซื้อสินค้าในปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการ  ในราคาต่างๆ  ในเวลาใดเวลาหนึ่ง  มีความต้องการจงใจที่จะซื้อ  และความสามารถที่จะซื้อในช่วงเวลานั้นดังนั้นแล้วจึงเป็นความต้องการที่สามารถ  ซื้อได้จริงตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค  ซึ่งจะต้องมีความต้องอย่างและมีเงินที่จะจ่ายได้ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์การที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อสินค้าหรือบริการในชระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง  จะมีมากน้อยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ ราคาสินค้าชนิดนั้นระดับรายได้ของผู้บริโภคราคาสินค้าและบริการชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อรสนิยของผู้บริโภคจำนวนประชากรการโฆษณาช่วงระยะเวลาหรือฤดูกาล  เป็นต้น สำหรับปัจจัยดังกล่าวสามารถที่จะอธิบายได้ดังนี้ราคาสินค้า  เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อผู้บริโภค …

54 years ago

อุปทาน (Supply) คืออะไร

สำหรับในวิชาเศรษฐศาสตรแล้วนั้นคงต้องมีความควบคู่กับระหว่างอุปสงค์และอุปทานเสมอ  ดังนั้นแล้ว  อุปทานก็คือ  ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ขายต้องการเสนอขาย  ในระดับราคาต่างๆ  ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง  โดยให้ปัจจัยอื่นๆคงที่  ก็คือความต้องการขายหรือทางเสนอขายของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการนั้นเองปัจจัยที่กำหนดอุปทาน1. ราคาสินค้าสินนั้น (Px)2. ราคาปัจจัยการผลิต(Py)3. ต้นทุนการผลิต (C)4. เทคโนโลยีการผลิต (T) ราคาสินค้าชนิดนั้น  หากราคาสินค้าชนิดนั้นเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ผลิตสินค้าชนิดนั้นมีความต้องการขายสินค้ามากขึ้นด้วย  และหากสินค้าชนิดนั้นลดลงผู้ขายต้องการที่จะขายสินค้าชนิดนั้นลดลงเช่นกัน  สรุปคือไปตามขนาดกับราคาสินค้านั้นเองราคาปัจจัยการผลิต  มีทิศทางตรงกันข้ามนั้นก็คือถ้าปัจจัยการผลิตสินค้ามีมากขึ้นหรือว่าราคาสูงขั้นก็จะทำให้มีความต้องการสินค้านั้นลดลงเพราะว่าจะทำให้ผู้ผลิตนั้นมีกำไรลดลงแต่หากปัจจัยการผลิตสินค้าลดลงก็จะทำให้ความต้องการขายสินค้าเพิ่มากขึ้นด้วยต้นทุนการผลิต  สำหรับต้นทุนการผลิตหากต้นทุการผลิตเพิ่มขึ้นก็จะทำให้มีความต้องการขายสินค้าลดลงและหากต้นทุนการผลิตต่ำลงเทคโนโลยีการผลิต …

54 years ago