เศรษฐศาสตร์

การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์

แนวทางของการศึกษาทางเศษรฐศาสตร์นั้นสามารถที่จะแบ่งแนวทางได้ 2 แนวทางใหญ่  เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่ต้องการศึกษาถึงเรื่องเศรษฐศาสตร์  ซึ่งมีความจำเป็นมากเพราะว่ามีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเรา  โดยที่เราจำเป็นที่จะใช้จ่ายในการต้องการสินค้าและบริการเราต้องการทราวความพอใจที่ราคาต่ำสุด  หลักการดังการเป็นการใช้กลัดของทางเศรษฐศาสตณืในการเข้าช่วยในการตัดสินใจ  รายได้ที่ได้รับมาเท่านั้นเท่านี้ทำอย่างไรจึงจะพอต่อค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน  รวมไปถึงการอยู่การกินทั่วๆไปการศึกษาจึงสามารถที่จะทำได้ปหลากหลายอาจจะระบุตามตรงให้ได้เลยนั้นไม่สามารถที่จะทำได้  สามารถที่จะปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม  ลักษณะพฤติกรรมของคนและปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  ซึ่งมีความแตกต่างไปจากวิทยาศสตร์ที่สามารถทดลองออกมาได้อย่างเที่ยงตรง  ทางนักเศรษฐศาสตร์เองนั้นจึงได้หาแนวทางในการศึกษาให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น  โดยหลักใช้ทางคือ  วิธีอนุมาน  และวิธีอุปมาน  ในการสร้างทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ขึ้นวิธีอนุมาน  เป็นการทฤษฎีโดยการเริ่มต้นจากการสร้างข้อเท็จจริงและหากลัดเหตุผลจนสามารถที่จะสรุปมาได้  โดยเริ่มจากการศึกษาการใช้เหตุผลพิจารณาเรื่องราวที่จะต้องศึกษา  และตั้งสมมติฐาน…

54 years ago

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

สำหรับแขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้บางตามหน่วยของเศรษฐกิจ  ซึ่งสามารถที่จะครอบคลุมทั้งระดับเล็กสุดของตัวบุคคลและระดับประเทศชาติ  ซึ่งการศึกษาและการแก้ไขปัญหามีความแตกต่างกัน  คนที่จะศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาให้ครอบคลุมทั้งระบบ    อย่างเช่นเรื่องของบุคคลก็จะศึกษาเรื่องเกี่ยวกับรายได้ของตัวเอง  รายจ่ายที่ใช้ชีวิตประจำวัน  การแลกเปลี่ยนและอื่นๆ  สำหรับเรื่องในระดับประเทศเกี่ยวกับการเก็บภาษี  การค้าระหว่างประเทศต่างๆ  ดังนั้นจึงมีการแบ่งออกเป็นสองแขนงได้แก่1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro Economics)  สำหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคนั้นเป็นการศึกษาตั้งแต่ในระดับตัวบุคคลเป็นหน่วยย่อย  รวมไปถึงการศึกษาพฤติกรรมของแต่ละกลุ่มและละบุคคลในการบริโภคในการซื้อของแต่ละชนิด  สามารถที่จะราคาสินค้าและปัจจัยการผลิตในการดำเนินการของตลาดของผู้ผลิต  การกำหนดปัจจัยการผลิต  ปริมาณการผลิต  กำหนดราคาและกลไกลของการตลาดต่างๆได้  ซึ่งถือได้ว่าเป็นการศึกษาที่มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราด้วย2. เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macro Economics) เป็นการศึกษาในด้านส่วนรวมของประเทศส่วนใหญ่ …

54 years ago

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด– ผลิตอย่างไร  จะผลิตอย่างไรให้ได้ต้นทุกที่ต่ำที่สุดให้ได้ปริมาณที่มากที่สุด  สินเปลืองค่าใช้จ่ายให้น้อยที่สุด  จะผลิตอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ– จะผลิตเพื่อใคร…

54 years ago

อุปสงค์ (Demand) คืออะไร

อุปสงค์  คือ  การเสนอเลือกซื้อสินค้าในปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการ  ในราคาต่างๆ  ในเวลาใดเวลาหนึ่ง  มีความต้องการจงใจที่จะซื้อ  และความสามารถที่จะซื้อในช่วงเวลานั้นดังนั้นแล้วจึงเป็นความต้องการที่สามารถ  ซื้อได้จริงตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค  ซึ่งจะต้องมีความต้องอย่างและมีเงินที่จะจ่ายได้ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์การที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อสินค้าหรือบริการในชระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง  จะมีมากน้อยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ ราคาสินค้าชนิดนั้นระดับรายได้ของผู้บริโภคราคาสินค้าและบริการชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อรสนิยของผู้บริโภคจำนวนประชากรการโฆษณาช่วงระยะเวลาหรือฤดูกาล  เป็นต้น สำหรับปัจจัยดังกล่าวสามารถที่จะอธิบายได้ดังนี้ราคาสินค้า  เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อผู้บริโภค  เนื่องจากต้องการใช้สินค้าทำให้เกิดความพึ่งพอใจสูงสุด  ดังนั้นหากราคาสินค้ามีราคาเพิ่มขึ้น ก็จะซื้อสินค้าชนิดนั้นน้อยลง  แต่ถ้าการาคาสินค้านั้นลดลงก็จะทำให้มีการซื้อสินค้าชนิดนั้นเพิ่มมากขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยอื่นๆ …

54 years ago

อุปทาน (Supply) คืออะไร

สำหรับในวิชาเศรษฐศาสตรแล้วนั้นคงต้องมีความควบคู่กับระหว่างอุปสงค์และอุปทานเสมอ  ดังนั้นแล้ว  อุปทานก็คือ  ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ขายต้องการเสนอขาย  ในระดับราคาต่างๆ  ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง  โดยให้ปัจจัยอื่นๆคงที่  ก็คือความต้องการขายหรือทางเสนอขายของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการนั้นเองปัจจัยที่กำหนดอุปทาน1. ราคาสินค้าสินนั้น (Px)2. ราคาปัจจัยการผลิต(Py)3. ต้นทุนการผลิต (C)4. เทคโนโลยีการผลิต (T) ราคาสินค้าชนิดนั้น  หากราคาสินค้าชนิดนั้นเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ผลิตสินค้าชนิดนั้นมีความต้องการขายสินค้ามากขึ้นด้วย  และหากสินค้าชนิดนั้นลดลงผู้ขายต้องการที่จะขายสินค้าชนิดนั้นลดลงเช่นกัน  สรุปคือไปตามขนาดกับราคาสินค้านั้นเองราคาปัจจัยการผลิต  มีทิศทางตรงกันข้ามนั้นก็คือถ้าปัจจัยการผลิตสินค้ามีมากขึ้นหรือว่าราคาสูงขั้นก็จะทำให้มีความต้องการสินค้านั้นลดลงเพราะว่าจะทำให้ผู้ผลิตนั้นมีกำไรลดลงแต่หากปัจจัยการผลิตสินค้าลดลงก็จะทำให้ความต้องการขายสินค้าเพิ่มากขึ้นด้วยต้นทุนการผลิต  สำหรับต้นทุนการผลิตหากต้นทุการผลิตเพิ่มขึ้นก็จะทำให้มีความต้องการขายสินค้าลดลงและหากต้นทุนการผลิตต่ำลงเทคโนโลยีการผลิต  การที่นำเทคโนโลยีการผลิตนำมาใช้นั้นช่วยให้การผลิตนั้นมีประสิทธิภาพ  หากเราได้นำเครื่องไม้เครื่องมือหรือว่าอุปกรณืที่เป็นเทคโนโลยีขั้ยสูงเข้ามาใช้ในการผลิตนั้นก็จะทำให้มีกำลังผลิตเพิ่มขึ้นและยังทำให้ต้นทุนการผลิตลดลงความต้องการขายสินค้าจะเพิ่มมากขึ้นด้วยนอกจากนั้นยังมีปัจจัยการผลิตอื่นๆที่มีความเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อมหรือว่านโยบาลของทางรัฐบาล  และเกิดเรื่องของการเมือง  การเปิดเหตุอื่นๆที่ไม่สามารถคาดคะเนได้ซึ่งจะมีผลทำให้เปิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านอุปทานได้สมการอุปทาน (Supply Equation)เมื่ออุปทานเป็นการแสงความต้องการของผู้ผลิตจึงมีความสัมพันธ์กับปัจจัยการผลิตโดยสามารถที่จะเขียนได้ดังนี้Qx…

54 years ago

หน่วยทางเศรษฐกิจ

หน่วยของเศรฐกิจนั้นมีหน้าที่สำคัญให้ระบบของเศษรฐกินเคลื่อนที่ไปในเทศทางที่ควร  โดยจะมีความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีหน้าที่ในการซื้อสินค้าและบริการแลผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ  ซึ่งบางระบบอาจจะต้องมีรัฐเข้ามาดูแลและควบคุมเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค  โดยหน่วยต่างแของเศรษฐกิจจะมีดังต่อไปนี้หน่วยของครัวเรือน : เป็นหน่วยของธุรกิจที่มีขนาดเล็ก  ทำหน้าที่ในการใช้บริการและบริโภคเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตด้วยหน่วยธุรกิจ : เป็นหน่วยที่รวบรวมและนพปัจจุบัยการผลิตทั้งหมดมาประกอบการผลิตสินค้าและบริการขึ้นมา  อาจจะอยู่ในรูปแบบโรงงาน  บริษัท หรืออื่นๆหน่วยรัฐบาล : มีหน้าที่ในการดูแลความสงบเรียบร้อย  และจัดสรรค์ควบคุมทรัพยากรให้เหมาะสมสำหรับประเทศ  นอกจากนั้นรัฐบาลยังมีหน้าในการจับเก็บภาษีเป็นเจ้าของกิจการเอง  และได้ลงทุนเองจึงสามารถที่จะเป็นได้ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค  จะเห็นได้จากตัวอย่างดังภาพ    จากรูปอธิบายได้ว่า  หน่วยของครัวเรือนนั้นได้ทำการป้อนปัจัยการผลิตไปแล้วจะได้รับค่าตอบตอนในรูปแบบต่างอย่างเช่น  ขายวัตถุดิบ  ขายแรงงานก็จะได้รับเป็นค่าตอบแทน  หน่วยธุรกิจจึงสามารถที่จะรวมปัจจัยการผลิตให้อยู่ในรูปแบบสินค้าและบริการ  และเมื่อได้สินค้าและบริการก็จะป้อนให้กับหน่วยครัวเรือน  ก็จะได้รับค่าตอบแทนกลับมา…

54 years ago

ระบบเศรษฐกิจ

การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศต่างๆ  อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์  ระเบียบ  หรือว่าแนวทางปฏิบัติ  เพื่อให้การทำหน้าที่ของหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ  ซึ่งมีความสัมพันธ์กันเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  บรรลุวัตถุประสงค์ของส่วนรวม  อย่างไรก็ตามประเทศต่างๆ  ไม่จำเป็นต้อมีระเบียบกฏเกณฑ์ดังกล่าวเหมือนกันนั้นหมายถึงว่ามีระบบเศรษฐกิจที่ต่างกัน  โดยทั่วไปตามระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ  ในโลกนี้  แบ่งออกเป็น 2 ประเทศใหญ่ๆ  ดังนี้ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capialist  Economic  System)  ระบบเศรษฐกิจแบบนี้บางครั้งเรียกว่า  ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม …

54 years ago

การแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในระบบเศรษฐกิจนั้นมีความการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันในเรื่องของผู้ที่มีอำนาจในการจัดการ  และเป็นเจ้าของทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต  จึงทำให้การแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันดังนี้1. การแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม  เนื่องจากระบบเศรษฐกิจนี้ส่วนใหญ่เอกชนมีเสรีภาพและกรรมสิทธ์ในการบริหารจัดการทรัพยากร  โดยอาศัยระบบตลาดหรือกลไกของราคาเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการแก้ปัญหาที่พื้นฐานทางเศรษฐกิจ  โดยมีรายละเอียดดังนี้            1.1 การตัดสินใจว่าจะผลิตอะไร  เป็นบทบาทหน้าที่ของเอกชนหรือหน่วยธุรกิจที่จะตัดสินใจผลิตสินค้าหรือบริการชนิดใดๆ  ที่ทำให้เขาได้กำไรสูงสุด  ซึ่งอาศัยกลไกของตลาดที่ประกอบด้วยผู้บริโภค  พร้อมทั้งคำนึงถึงต้นทุนในการผลิตและสักยภาพของผู้ผลิตในการผลิตสินค้านั้น  สิ่งที่ชี้บอกให้หน่วยธุรกิจตัดสินใจได้ก็คือ  ราคาสินค้า  เพราะว่าราคาเป็นสิ่งที่ส่งสัญญาณความต้องการของผู้บริโภคว่าต้องการสินค้านั้นมากน้อยเพียงใด  ขณะเดียวกันเป็นตัวชี้ขอกให้ผู้ผลิตตัดสินใจได้ว่าควรผลิตมากน้อยเพียงใด  โดยนำข้อมูลที่เกี่ยวกับต้นทุนการผลิตเปรียบเทียบกับราคาเพื่อประกอบในการตัดสินใจได้ว่าควรผลิตสินค้าใด  มากน้อยเพียงใด  จึงจะทำให้ตนเองได้กำไร1.2…

54 years ago