ระบบเศรษฐกิจ

การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศต่างๆ  อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์  ระเบียบ  หรือว่าแนวทางปฏิบัติ  เพื่อให้การทำหน้าที่ของหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ  ซึ่งมีความสัมพันธ์กันเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  บรรลุวัตถุประสงค์ของส่วนรวม  อย่างไรก็ตามประเทศต่างๆ  ไม่จำเป็นต้อมีระเบียบกฏเกณฑ์ดังกล่าวเหมือนกันนั้นหมายถึงว่ามีระบบเศรษฐกิจที่ต่างกัน  โดยทั่วไปตามระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ  ในโลกนี้  แบ่งออกเป็น 2 ประเทศใหญ่ๆ  ดังนี้


1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capialist  Economic  System)  ระบบเศรษฐกิจแบบนี้บางครั้งเรียกว่า  ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม  ระบบนี้มีลักษณะสำคัญคือเอกชนมีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิต  มีเสรีภาพในการเลือกดำเนินการทางเศรษฐกิจตาใจชอบ  โดยอาศัยกลไลของราคา  โดยรัฐบาลจะไม่เข้าแทรกแซงในกิจกรรมทางเศรษฐกิจชองเอกชน  เช่น  การไม่ควบคุมการผลิตการกำหนดราคาและการจำหน่ายสินค้า  แต่จะดำเนินกิจการบางอย่างที่จำเป็นซึ่งเอกชนไม่สามารถที่จะทำได้  เช่นกิจการสาธารณูปโภค  ระบบเศรษฐกิจแบบนี้จึงมีข้อดีในแง่ที่ทำให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ  ทั้งนี้เพราะการที่เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ  จึงทำให้เกิดแรงจูงใจที่จะแสวงหากำไรสูงสุด  โดยเลือกผลิตสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการมากที่สุด นอกจากนี้การเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทำให้ผู้ผลิตต้องการกำไร  โดยพยายามปรับปรุงเทคนิคการผลิตตลอดเวลาเพื่อลดต้นทุนการผลิต  ซึ่งมีผลให้ราคาสินค้าต่ำลง  ลักษณะเช่นนี้ทำให้เกิดผลดีแก่ระบบเศรษฐกิจในด้านการประหยักทรัพยากรและเกิดความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อีกประการหนึ่ง  หารที่บุคคลมีสิทธิเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตของตนให้ได้ผลตอบแทนสูงสุดนั้นคือ  ทำให้คนมีรายได้สูง  จึงมีผลให้ประเทศมีรายได้ประชาชาสูงตามไปด้วย  และนำไปสู่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ  ส่วนข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบนี้คือ  บุคคลในสังคมมีแนวโน้มไปในการมุ่งแต่แสวงหาผลประโยชน์ทางด้านวัตถุไม่คำนึงถึงศีลธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม  เนื่องจากทุกคนมีเสรีภาพมาก  นอกจากนี้การใช้ระบบเศรษฐกิจนี้ในประเทศที่ไม่มีความพร้อมโดยเพราะทางด้านการเมือง  จะทำให้เกิดการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม  โดยมีอำนาจทางการเมืองแทรกแซงจนทำให้บุคคลบางกลุ่มได้เปรียบกว่าบุคคลอื่นในการแสวงหาผลประโยชน์  ดังนั้นการผลิตในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจึงมีโอกาสมากที่จะเกิดผูกขาด  และก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้
2. ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม (Socialist  Economic  System) ระบบเศรษฐกิจนี้มีลักษณะที่สำคัญคือ  มุ่งให้ชุมชนหรือสังคมส่วนรวมเป็นผู้ควบคุมการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ  โดยรัฐบาลจะเป็นผู้วางแผลและกำหนดกิจกรรมดั้งกล่าว  ดังนั้นเอกชนจึงไม่มีเสรีภาพที่จะทำกิจกรรมใดๆ  ในทางเศรษฐกิจ  และนอกจากนั้นรัฐบาลจะถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่  ในขณะที่เอกชนได้รับผลตอบแทนเพียงแต่ปัจจัยการดำรงชีพเท่านั้น  จึงทำให้ประชาชนขาดแรงจูงใจที่จะทำงาน  มีผลให้ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างช้าๆ  ซึ่งทำให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ  และการวางแผลในเรื่องกิจกรรมทางเศรษฐกิจมาจากส่วนกลางคือ  รัฐบาลย่อมทำให้ประชาชนทุกคนมีงานทำรายได้เสมอภาคกัน  ซึ่งระบบเป็นข้อดีแบบนี้  อย่างไรก็ตามถ้ารัฐบาลไม่มีความรู้ความสามารถจะทำให้การวางแผลเรื่องเศรษฐกิจผิดพลาดได้  แล้วทำให้เกิดความเสียหายของทรัพยากรส่วนรวม  ในขณะที่ภาคเอกชนขาดเสรีภาพในการผลิต  และการบริโภค  ซึ่งเป็นข้อที่เกิดขึ้นได้ในระบบเศรษฐกิจนี้
ในปัจจุบันกล่าวได้ว่า  ไม่มีประเทศใดที่ใช้ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมหรือว่าสังคมนิยมอย่างสมบูรณ์  ในทางปฏิบัติทุกประเทศต่างก็ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมระหว่างทุนนิยมหรือว่าสังคมนิยม  โดยบางประเทศมีระบบเศรษฐกิจแบบผสมที่ค่อนข้างไปทางทุนนิยม  เช่นสหรัฐอเมริกา  ญี่ปุ่น  และไทย  ในประเทศเหล่านี้รัฐบาลจะเข้าไปแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง  โดยเฉพาะด้านสาธารณูปโภคส่วนบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจแบบผสมที่ค่อนข้างไปทางสังคมนิยม  เช่น อังกฤษ  ฝรั่งเศส  แคนนากา  โดยเฉพาะประเทศจีน  ที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเน้นหนักไปทางสังคมนิยมมากว่าประเทศอื่นๆ
ไม่ว่าประเทศต่างๆ  จะใช้ระบบเศรษฐกิจแบบใดก็ต้องเผชิญกับปัญหาที่ต้องตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัด ซึ่งเป็น

สินเชื่อออมสิน
zebracon

Share
Published by
zebracon

Recent Posts

การปรับปรุงรายการบัญชี

กิจการได้ดำเนินงานต่างๆ  ผลของการดำเนินการจะดูที่งบกำไรขากทุน  และฐานะทางการเงินก็จะดูได้จากงบแดงฐานะการเงินซึ่งเป็นรายงานทางการเงินที่กิจการต้องมี  การที่เราจะรับรู้ได้นั้นจะต้องนำรายการมาผ่านกระบวนการทางบัญชี  เพื่อให้ได้รายงานทางการเงินเป็นบทสรุป  ดังนั้นแล้วเราจะเป็นที่จะต้องกำหนดระยะเวลาในการสรุปในรอบเวลานั้นเรียกว่า “งวดบัญชี”  เพื่อให้การดำเนินงานของกิจการได้สรุปผลออกมาและนำข้อมูลที่ได้จากรายงานทางการเงินกำหนดการบริหารในอนาคต  รวมถึงการคิดค่าภาษีเงินได้ที่ต้องชำระอีกด้วย  แต่มีบางรายการที่ได้เงินหรือค้างชำระตามงวดนั้นไม่ได้เป็นจริงตามระยะเวลาของงวด  ซึ่งในเกณฑ์คงค้างจะต้องทำการปรับปรุงเมื่อสินงวดการปรับปรุงรายการบัญชี  จะใช้ในกิจการที่ใช้เกณฑ์คงค้าง  โดยการนำงบทดลองที่ได้จากการปิดบัญชีแล้วนั้นเรียกว่างบทดลองก่อนปรับปรุง  หลังจากที่ได้ทำการปรับปรุงบางรายการที่ไม่เกิดขึ้นในระยะเวลาในงวดบัญชี  เราต้องมีการปรับปรุงให้คำนึงถึงระยะเวลาไม่ต้องใช้เงินสดแต่มีความแน่นอนว่ารายการจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต  รายการปรับปรุงจะต้องทำทุกสิ้นงวด  หลังจากปรังปรังแล้วจะกลายเป็นงบทดลองหลังปรับปรุงก่อนที่จะไปแสดงในยอดงบกำหรขากทุนและงบแสดงฐานะทางการเงิน  ซึ่งจะทำในกระดาษทำการ…

54 years ago

การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์

แนวทางของการศึกษาทางเศษรฐศาสตร์นั้นสามารถที่จะแบ่งแนวทางได้ 2 แนวทางใหญ่  เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่ต้องการศึกษาถึงเรื่องเศรษฐศาสตร์  ซึ่งมีความจำเป็นมากเพราะว่ามีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเรา  โดยที่เราจำเป็นที่จะใช้จ่ายในการต้องการสินค้าและบริการเราต้องการทราวความพอใจที่ราคาต่ำสุด  หลักการดังการเป็นการใช้กลัดของทางเศรษฐศาสตณืในการเข้าช่วยในการตัดสินใจ  รายได้ที่ได้รับมาเท่านั้นเท่านี้ทำอย่างไรจึงจะพอต่อค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน  รวมไปถึงการอยู่การกินทั่วๆไปการศึกษาจึงสามารถที่จะทำได้ปหลากหลายอาจจะระบุตามตรงให้ได้เลยนั้นไม่สามารถที่จะทำได้  สามารถที่จะปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม  ลักษณะพฤติกรรมของคนและปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  ซึ่งมีความแตกต่างไปจากวิทยาศสตร์ที่สามารถทดลองออกมาได้อย่างเที่ยงตรง  ทางนักเศรษฐศาสตร์เองนั้นจึงได้หาแนวทางในการศึกษาให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น  โดยหลักใช้ทางคือ  วิธีอนุมาน …

54 years ago

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

สำหรับแขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้บางตามหน่วยของเศรษฐกิจ  ซึ่งสามารถที่จะครอบคลุมทั้งระดับเล็กสุดของตัวบุคคลและระดับประเทศชาติ  ซึ่งการศึกษาและการแก้ไขปัญหามีความแตกต่างกัน  คนที่จะศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาให้ครอบคลุมทั้งระบบ    อย่างเช่นเรื่องของบุคคลก็จะศึกษาเรื่องเกี่ยวกับรายได้ของตัวเอง  รายจ่ายที่ใช้ชีวิตประจำวัน  การแลกเปลี่ยนและอื่นๆ  สำหรับเรื่องในระดับประเทศเกี่ยวกับการเก็บภาษี  การค้าระหว่างประเทศต่างๆ  ดังนั้นจึงมีการแบ่งออกเป็นสองแขนงได้แก่1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro Economics)  สำหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคนั้นเป็นการศึกษาตั้งแต่ในระดับตัวบุคคลเป็นหน่วยย่อย  รวมไปถึงการศึกษาพฤติกรรมของแต่ละกลุ่มและละบุคคลในการบริโภคในการซื้อของแต่ละชนิด  สามารถที่จะราคาสินค้าและปัจจัยการผลิตในการดำเนินการของตลาดของผู้ผลิต  การกำหนดปัจจัยการผลิต …

54 years ago

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด–…

54 years ago

อุปสงค์ (Demand) คืออะไร

อุปสงค์  คือ  การเสนอเลือกซื้อสินค้าในปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการ  ในราคาต่างๆ  ในเวลาใดเวลาหนึ่ง  มีความต้องการจงใจที่จะซื้อ  และความสามารถที่จะซื้อในช่วงเวลานั้นดังนั้นแล้วจึงเป็นความต้องการที่สามารถ  ซื้อได้จริงตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค  ซึ่งจะต้องมีความต้องอย่างและมีเงินที่จะจ่ายได้ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์การที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อสินค้าหรือบริการในชระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง  จะมีมากน้อยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ ราคาสินค้าชนิดนั้นระดับรายได้ของผู้บริโภคราคาสินค้าและบริการชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อรสนิยของผู้บริโภคจำนวนประชากรการโฆษณาช่วงระยะเวลาหรือฤดูกาล  เป็นต้น สำหรับปัจจัยดังกล่าวสามารถที่จะอธิบายได้ดังนี้ราคาสินค้า  เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อผู้บริโภค …

54 years ago

อุปทาน (Supply) คืออะไร

สำหรับในวิชาเศรษฐศาสตรแล้วนั้นคงต้องมีความควบคู่กับระหว่างอุปสงค์และอุปทานเสมอ  ดังนั้นแล้ว  อุปทานก็คือ  ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ขายต้องการเสนอขาย  ในระดับราคาต่างๆ  ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง  โดยให้ปัจจัยอื่นๆคงที่  ก็คือความต้องการขายหรือทางเสนอขายของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการนั้นเองปัจจัยที่กำหนดอุปทาน1. ราคาสินค้าสินนั้น (Px)2. ราคาปัจจัยการผลิต(Py)3. ต้นทุนการผลิต (C)4. เทคโนโลยีการผลิต (T) ราคาสินค้าชนิดนั้น  หากราคาสินค้าชนิดนั้นเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ผลิตสินค้าชนิดนั้นมีความต้องการขายสินค้ามากขึ้นด้วย  และหากสินค้าชนิดนั้นลดลงผู้ขายต้องการที่จะขายสินค้าชนิดนั้นลดลงเช่นกัน  สรุปคือไปตามขนาดกับราคาสินค้านั้นเองราคาปัจจัยการผลิต  มีทิศทางตรงกันข้ามนั้นก็คือถ้าปัจจัยการผลิตสินค้ามีมากขึ้นหรือว่าราคาสูงขั้นก็จะทำให้มีความต้องการสินค้านั้นลดลงเพราะว่าจะทำให้ผู้ผลิตนั้นมีกำไรลดลงแต่หากปัจจัยการผลิตสินค้าลดลงก็จะทำให้ความต้องการขายสินค้าเพิ่มากขึ้นด้วยต้นทุนการผลิต  สำหรับต้นทุนการผลิตหากต้นทุการผลิตเพิ่มขึ้นก็จะทำให้มีความต้องการขายสินค้าลดลงและหากต้นทุนการผลิตต่ำลงเทคโนโลยีการผลิต …

54 years ago