สมุดรายวันทั่วไป สมุดบัญชีขั้นต้น (General Journal,Book of Original Entry)

สมุดรายวันทั่วไป มีความสำคัญตอนนี้เราคงศึกษาวงจรบัญชีแล้วว่าต้องมีการบัญทึกลงในสมุดบัญชีขั้นต้น  ซึ่งเป็นสมุดรายวันทั่วไป ที่เราจะทำการศึกษาและเป็นสมุดที่นิยมใช้ได้ทั่วไป ก่อนนั้นเราได้ศึกษาการวิเคราะห์บัญชีแล้วนำมาผ่านบัญชีแยกประเภทแบบง่ายหรือว่ารูปตัว T ไปแล้ว  ในรายการค้านั้น  การจดบัญทึกในขั้นต้นไม่จำเป็นต้องลงแยกประเภทอก่อน  แต่เราจะทำการรวมไว้ในบัญชีขั้นต้นก่อนเสมอ  หากเรานำไปเป็นบัญชีแยกประเภทเลยอาจจะทำให้เสียเวลา  เพื่อความสะดวกในการจดบัญทึกในบัญชีขั้นต้นก่อนและจึงไปแยกประเภทเป็นขั้นตอนไป

สมุดบัญชีขั้นต้น  คือ  สมุดบัญชีที่ใช้สำหรับการบัญทึกรายการค้าแต่แรกเริ่มของกระบวนการบัญชี  ก่อนที่จะนำไปยังบัญชีแยะประเภทเพื่อรวบรวมรายการค้าต่างๆ  ของกิจการในขั้นต้นโดยไม่ได้แยกบัญชีเป็นการบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป  หลังจากที่ได้บัญทึกในสมุดรายวันทั่วไปแล้ว  ก็จะมาผ่านขั้นตอนบัญชีแยกประเภทเพื่อเป็นการจัดบัญชีที่มีความเกี่ยวข้องกับประเภทนั้น
สมุดรายวัน  เป็นสมุดบัญชีขั้นต้นที่ใช้บัญทึกรายกการค้าโดยไม่ได้ทำการแยกประเภท  นั้นก็คือรายการค้าที่เกิดขึ้นจะเป็นการบันทึกรวมไปทั้งหมดก่อน  โดยจะต้องทำการวิเคราะห์ว่าเดบิต  เครดิต บัญชีอะไรบ้าง  โดยทำการเรียกลำดับเหตุการณ์เป็นวันที่  รวมไปถึง  รายการปิดบัญชี เปิดบัญชี  กลับบัญชี ด้วย และเป็นที่นิยมใช้กัน  และสมุดรายวันสามารถแบ่งไปเป็น 2 ประเภท  ดังนี้

1. สมุดรายวันทั่วไป (General  Journal)

สมุดรายวันทั่วไป  เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าของในแต่ละวันทั้งหมดโดยไม่ได้แยกออกเป็นบัญเฉพาะรายการ  เพราะฉะนั้นสมุดบัญชีรายวันทั่วไปสามารถที่จะจดบันทึกได้ทุกรายการ  และรายการที่ไม่สามารถที่จะบันทึกในสุดรายวันเฉพาะได้  อย่างเช่น  การเปิดบัญชี  การปิดบัญชี  ปรับปรุงรายการ  และรายการอื่นๆ  ที่ไม่สามารถบันทึกในสมุดรายการเฉพาะได้  สมุดรายวันทั่วไปสามารถที่จะใช้กับกับกิจการทุกขนาด  เพราะว่ามีความจำเป็นแม้กระทั่งมีสมุดรายวันเฉพาะแล้วก็ตาม  ตัวอย่างรูปแบบสมุดรายวันทั่วไปเป็นดังนี้

สมุดรายวันทั่วไป                                                  หน้าบัญชี…

วันที่

รายการ

เลขที่
บัญชี

เดบิต

เครดิต

ส่วนประกอบของสมุดรายวันทั่วไป
1.1 การระบุว่า  สมุดบัญชีรายวันทั่วไป  อยู่ด้านบนและกึ่งกลางของกระดาษ   แสดงให้เห็นถึงชนิดและประเภทของสมุดบัญชี  ต่อมาก็จะเป็น  หน้าบัญชีอยู่ด้านซ้าย  เป็นการระบุหน้าบัญชี  มีความสำคัญในการค้าหา
1.2 ช่องของวันที่  เป็นการแสดงวันที่ของรายการที่เราบันทึกที่เกิดขึ้นในวันนั้น
1.3 ช่องเลขที่บัญชี  เป็นช่องที่กำหนดตามเลขที่บัญ  ที่ระบุตามกิจการกำหนดตามรูปแบบผังบัญชี
1.4  รายการ  เป็นการแสดงรายการ เดบิต  เครดิตบัญชีที่เกิดขึ้น ตามรายการค้านั้น  โดยจะต้องระบุเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพอสังเขปหลังจาด เดบิต  เครดิต  รายการค้าในแต่ละวันแล้ว
1.5 ช่อง เดบิต  เครดิต  เป็นช่องที่ใช้ระบุ  จำนวนเงินที่เกิดขึ้นตามรายการที่ทำการบันทึก

2. สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)

เป็นสุดรายวันที่  ใช้ในการบันทึกรายการค้าที่ซ้ำๆ  เกิดขึ้นประจำ  เป้นสุกรายวันที่จะระบุไว้ตามประเภท  อย่างเช่น  สมุดรายวันรับเงิน  สมุดรายวันจ่ายเงิน  ซึ่งรายการพวกนี้มักเกิดขึ้นได้บ่อยในกิจการ  การทำสมุดรายวันเฉพาะขั้นมาเพื่อเป้ฯการรวมรวมรายการเฉพาะที่ไม่ได้ปะบ่นกับรายการอื่น  จึงทำให้ง่ายและมีความสะดวกในการรวบรวม  จึงเหมะสมกับกิจการที่มีขนาดใหญ่มีรายการจำนวนมาก  แต่ก็ยังใช้กับสมุดรายวันทั่วไป  เนื่องจากรายที่เกิดขึ้นมีรายบัญชี  ที่ไม่สามารถบัญทึกในสมุดรายวันเฉพาะได้ก็จะบันทึกที่สมุดรายวันทั่วไปแทน

ประโยชน์ของสมุดรายวัน

สามารถที่ช่วยในการบัญทึกรายการได้สะดวกและรวดเร็ว  เพื่อป้องกันการหลังลืมในทุกรายการ  โดยไม่จำเป็นแยกประเภทก่อน  สามารถที่จะรู้ได้ว่ารายการใดเกิดก่อนและหลัง  เพราะสามารถที่จะเรียงลับดำตามวันที่  สามารถที่จะรับรู้รายการเพราะว่ามีการเขียนคำอธิบายว่าอย่างคร่าวๆ  ในแต่ละรายการ จึงทำให้ทราบที่มาที่ไปได้ง่าย  เหตุการณ์ที่ใช้บัญทึกนั้นสามารถที่จะบัญทึกทั้ง  การเปิด  การปิดของบัญชีได้  สามารถที่จะเทียบเคียงหากมีข้อผิดพลาดต่างๆได้  คือได้ว่าเป็นสมุดที่มีความสำคัญในกิจการ  และสามารถที่จะย้อนกับไปดูรายการนั้นๆ  เพื่อเป็นการตรวจสอบภายในได้อีกด้วยจึงมีการเก็บรักษาไวเป็นอย่างดี

zebracon

Share
Published by
zebracon

Recent Posts

การปรับปรุงรายการบัญชี

กิจการได้ดำเนินงานต่างๆ  ผลของการดำเนินการจะดูที่งบกำไรขากทุน  และฐานะทางการเงินก็จะดูได้จากงบแดงฐานะการเงินซึ่งเป็นรายงานทางการเงินที่กิจการต้องมี  การที่เราจะรับรู้ได้นั้นจะต้องนำรายการมาผ่านกระบวนการทางบัญชี  เพื่อให้ได้รายงานทางการเงินเป็นบทสรุป  ดังนั้นแล้วเราจะเป็นที่จะต้องกำหนดระยะเวลาในการสรุปในรอบเวลานั้นเรียกว่า “งวดบัญชี”  เพื่อให้การดำเนินงานของกิจการได้สรุปผลออกมาและนำข้อมูลที่ได้จากรายงานทางการเงินกำหนดการบริหารในอนาคต  รวมถึงการคิดค่าภาษีเงินได้ที่ต้องชำระอีกด้วย  แต่มีบางรายการที่ได้เงินหรือค้างชำระตามงวดนั้นไม่ได้เป็นจริงตามระยะเวลาของงวด  ซึ่งในเกณฑ์คงค้างจะต้องทำการปรับปรุงเมื่อสินงวดการปรับปรุงรายการบัญชี  จะใช้ในกิจการที่ใช้เกณฑ์คงค้าง  โดยการนำงบทดลองที่ได้จากการปิดบัญชีแล้วนั้นเรียกว่างบทดลองก่อนปรับปรุง  หลังจากที่ได้ทำการปรับปรุงบางรายการที่ไม่เกิดขึ้นในระยะเวลาในงวดบัญชี  เราต้องมีการปรับปรุงให้คำนึงถึงระยะเวลาไม่ต้องใช้เงินสดแต่มีความแน่นอนว่ารายการจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต  รายการปรับปรุงจะต้องทำทุกสิ้นงวด  หลังจากปรังปรังแล้วจะกลายเป็นงบทดลองหลังปรับปรุงก่อนที่จะไปแสดงในยอดงบกำหรขากทุนและงบแสดงฐานะทางการเงิน  ซึ่งจะทำในกระดาษทำการ…

54 years ago

การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์

แนวทางของการศึกษาทางเศษรฐศาสตร์นั้นสามารถที่จะแบ่งแนวทางได้ 2 แนวทางใหญ่  เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่ต้องการศึกษาถึงเรื่องเศรษฐศาสตร์  ซึ่งมีความจำเป็นมากเพราะว่ามีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเรา  โดยที่เราจำเป็นที่จะใช้จ่ายในการต้องการสินค้าและบริการเราต้องการทราวความพอใจที่ราคาต่ำสุด  หลักการดังการเป็นการใช้กลัดของทางเศรษฐศาสตณืในการเข้าช่วยในการตัดสินใจ  รายได้ที่ได้รับมาเท่านั้นเท่านี้ทำอย่างไรจึงจะพอต่อค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน  รวมไปถึงการอยู่การกินทั่วๆไปการศึกษาจึงสามารถที่จะทำได้ปหลากหลายอาจจะระบุตามตรงให้ได้เลยนั้นไม่สามารถที่จะทำได้  สามารถที่จะปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม  ลักษณะพฤติกรรมของคนและปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย  ซึ่งมีความแตกต่างไปจากวิทยาศสตร์ที่สามารถทดลองออกมาได้อย่างเที่ยงตรง  ทางนักเศรษฐศาสตร์เองนั้นจึงได้หาแนวทางในการศึกษาให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น  โดยหลักใช้ทางคือ  วิธีอนุมาน …

54 years ago

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์

สำหรับแขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้บางตามหน่วยของเศรษฐกิจ  ซึ่งสามารถที่จะครอบคลุมทั้งระดับเล็กสุดของตัวบุคคลและระดับประเทศชาติ  ซึ่งการศึกษาและการแก้ไขปัญหามีความแตกต่างกัน  คนที่จะศึกษาเศรษฐศาสตร์นั้นจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาให้ครอบคลุมทั้งระบบ    อย่างเช่นเรื่องของบุคคลก็จะศึกษาเรื่องเกี่ยวกับรายได้ของตัวเอง  รายจ่ายที่ใช้ชีวิตประจำวัน  การแลกเปลี่ยนและอื่นๆ  สำหรับเรื่องในระดับประเทศเกี่ยวกับการเก็บภาษี  การค้าระหว่างประเทศต่างๆ  ดังนั้นจึงมีการแบ่งออกเป็นสองแขนงได้แก่1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro Economics)  สำหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาคนั้นเป็นการศึกษาตั้งแต่ในระดับตัวบุคคลเป็นหน่วยย่อย  รวมไปถึงการศึกษาพฤติกรรมของแต่ละกลุ่มและละบุคคลในการบริโภคในการซื้อของแต่ละชนิด  สามารถที่จะราคาสินค้าและปัจจัยการผลิตในการดำเนินการของตลาดของผู้ผลิต  การกำหนดปัจจัยการผลิต …

54 years ago

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด–…

54 years ago

อุปสงค์ (Demand) คืออะไร

อุปสงค์  คือ  การเสนอเลือกซื้อสินค้าในปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการ  ในราคาต่างๆ  ในเวลาใดเวลาหนึ่ง  มีความต้องการจงใจที่จะซื้อ  และความสามารถที่จะซื้อในช่วงเวลานั้นดังนั้นแล้วจึงเป็นความต้องการที่สามารถ  ซื้อได้จริงตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค  ซึ่งจะต้องมีความต้องอย่างและมีเงินที่จะจ่ายได้ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์การที่ผู้บริโภคต้องการที่จะซื้อสินค้าหรือบริการในชระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง  จะมีมากน้อยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ ราคาสินค้าชนิดนั้นระดับรายได้ของผู้บริโภคราคาสินค้าและบริการชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อรสนิยของผู้บริโภคจำนวนประชากรการโฆษณาช่วงระยะเวลาหรือฤดูกาล  เป็นต้น สำหรับปัจจัยดังกล่าวสามารถที่จะอธิบายได้ดังนี้ราคาสินค้า  เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อผู้บริโภค …

54 years ago

อุปทาน (Supply) คืออะไร

สำหรับในวิชาเศรษฐศาสตรแล้วนั้นคงต้องมีความควบคู่กับระหว่างอุปสงค์และอุปทานเสมอ  ดังนั้นแล้ว  อุปทานก็คือ  ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ขายต้องการเสนอขาย  ในระดับราคาต่างๆ  ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง  โดยให้ปัจจัยอื่นๆคงที่  ก็คือความต้องการขายหรือทางเสนอขายของผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการนั้นเองปัจจัยที่กำหนดอุปทาน1. ราคาสินค้าสินนั้น (Px)2. ราคาปัจจัยการผลิต(Py)3. ต้นทุนการผลิต (C)4. เทคโนโลยีการผลิต (T) ราคาสินค้าชนิดนั้น  หากราคาสินค้าชนิดนั้นเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ผลิตสินค้าชนิดนั้นมีความต้องการขายสินค้ามากขึ้นด้วย  และหากสินค้าชนิดนั้นลดลงผู้ขายต้องการที่จะขายสินค้าชนิดนั้นลดลงเช่นกัน  สรุปคือไปตามขนาดกับราคาสินค้านั้นเองราคาปัจจัยการผลิต  มีทิศทางตรงกันข้ามนั้นก็คือถ้าปัจจัยการผลิตสินค้ามีมากขึ้นหรือว่าราคาสูงขั้นก็จะทำให้มีความต้องการสินค้านั้นลดลงเพราะว่าจะทำให้ผู้ผลิตนั้นมีกำไรลดลงแต่หากปัจจัยการผลิตสินค้าลดลงก็จะทำให้ความต้องการขายสินค้าเพิ่มากขึ้นด้วยต้นทุนการผลิต  สำหรับต้นทุนการผลิตหากต้นทุการผลิตเพิ่มขึ้นก็จะทำให้มีความต้องการขายสินค้าลดลงและหากต้นทุนการผลิตต่ำลงเทคโนโลยีการผลิต …

54 years ago