ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค
1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่
– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด
– ผลิตอย่างไร  จะผลิตอย่างไรให้ได้ต้นทุกที่ต่ำที่สุดให้ได้ปริมาณที่มากที่สุด  สินเปลืองค่าใช้จ่ายให้น้อยที่สุด  จะผลิตอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
– จะผลิตเพื่อใคร เป็นการเลือกลุ่มผู้บริโภคว่าต้องการที่จะผลิตให้กับกลุ่มเป้าหมายประเภทใดมากที่สุด  หรือว่ากลุ่มใดได้ประโยชน์ที่ได้รับสินค้าของเรา จัดสรรอย่างไรให้ถูกต้อง
2. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์มหาภาค ได้แก่
– ปัญหาเรื่องแรงงาน  ที่ต้องแก้ไข  อย่างเช่นอัตราการว่างงาน และเกี่ยวกับทางการเกิด  เงินเฟ้อ อัตราค่าเงินต่าง
– ปัญหาเรื่องการผลิต  การผลิตสินค้าและการควบคุมการผลิตสินค้าให้มีความต้องการของคนในประเทศ
สำหรับปัญหาทางเศรษฐกิจนั้นไม่ว่าจะเป็นระบบใดก็ไม่ก็ล้วนที่ต้องเจอในทุกๆระบบบ
– ทรัพยกรที่มีอยู่มีจำกัด  ทุกประเทศนั้นจะมีทรัพยากรที่จำกัด  ไม่ว่าจะเป็นแรงงานหรือไม่ก็วัตถุดิบ ขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศ  ยังรวมไปถึงองค์ความรู้ที่ใช้ในการผลิตสินค้าด้วย
– ความต้องการไม่จำกัด  ด้วยความต้องการของคนไม่มีจำกัด  ดังดั้นทรัพยากรที่มีอยู่จึงไม่เพียงต่อความต้องการ  จึงต้องใช้กลไกลของตลาด

Leave a Comment