หน่วยของเศรฐกิจนั้นมีหน้าที่สำคัญให้ระบบของเศษรฐกินเคลื่อนที่ไปในเทศทางที่ควร โดยจะมีความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีหน้าที่ในการซื้อสินค้าและบริการแลผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ ซึ่งบางระบบอาจจะต้องมีรัฐเข้ามาดูแลและควบคุมเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค โดยหน่วยต่างแของเศรษฐกิจจะมีดังต่อไปนี้
หน่วยของครัวเรือน : เป็นหน่วยของธุรกิจที่มีขนาดเล็ก ทำหน้าที่ในการใช้บริการและบริโภคเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตด้วย
หน่วยธุรกิจ : เป็นหน่วยที่รวบรวมและนพปัจจุบัยการผลิตทั้งหมดมาประกอบการผลิตสินค้าและบริการขึ้นมา อาจจะอยู่ในรูปแบบโรงงาน บริษัท หรืออื่นๆ
หน่วยรัฐบาล : มีหน้าที่ในการดูแลความสงบเรียบร้อย และจัดสรรค์ควบคุมทรัพยากรให้เหมาะสมสำหรับประเทศ นอกจากนั้นรัฐบาลยังมีหน้าในการจับเก็บภาษีเป็นเจ้าของกิจการเอง และได้ลงทุนเองจึงสามารถที่จะเป็นได้ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค จะเห็นได้จากตัวอย่างดังภาพ

จากรูปอธิบายได้ว่า หน่วยของครัวเรือนนั้นได้ทำการป้อนปัจัยการผลิตไปแล้วจะได้รับค่าตอบตอนในรูปแบบต่างอย่างเช่น ขายวัตถุดิบ ขายแรงงานก็จะได้รับเป็นค่าตอบแทน หน่วยธุรกิจจึงสามารถที่จะรวมปัจจัยการผลิตให้อยู่ในรูปแบบสินค้าและบริการ และเมื่อได้สินค้าและบริการก็จะป้อนให้กับหน่วยครัวเรือน ก็จะได้รับค่าตอบแทนกลับมา เพื่อจ่ายค่าปัจจัยการผลิตนั้นเอง
เมื่อมีหน่วยรัฐบาลเข้ามาจะมีกระบวนการดังรูป

จากรูปจะเห็นได้ว่าเมื่อมีหน่วยรัฐบาลเข้ามาแล้วจะทำการเก็บภาษีซึ่งเป็นรายได้ของรัฐบาล เมื่อได้จากการเก็บภาษีแล้วก็จะนำไปลงทุนในส่วนต่างๆ และนำไปจ่ายพนังงานข้าราชการ รวมไปถึงจ่ายค่าทุนการศึกษา เบี้ยเลี้ยงต่างๆ สำหรับหน่วยธุรกิจเองก็จ่ายภาษีแล้วทางรัฐอาจจะให้การลงทุนต่างๆ